
ผู้สมัครงาน
41,000
- ได้รับการยกเว้น
1.
สาขาอาชีพ : วิศวกรรม
สาขาอาชีพย่อย : วิศวกรการผลิต/วิศวกรโรงงาน
ตำแหน่ง : Production Engineer
2.
สาขาอาชีพ : วิศวกรรม
สาขาอาชีพย่อย : วิศวกรรมอุตสาหการ
ตำแหน่ง : Industrial Engineer
3.
สาขาอาชีพ : บริหาร/ผู้จัดการ
สาขาอาชีพย่อย : หัวหน้า/ผู้จัดการ/ผู้บริหาร อื่นๆ
ตำแหน่ง : Production Manager
พื้นที่ที่ต้องการทำงาน : กรุงเทพมหานคร (ทุกเขต)
รูปแบบงาน : งานประจำ
ระยะเวลาเริ่มงาน : เริ่มงานได้ทันที
สามารถทำงานในกรุงเทพฯ : ได้
ยินดีทำงานต่างประเทศ : ไม่ได้
ปีที่จบการศึกษา : 2551
วุฒิการศึกษา : ปริญญาโท
คณะวิชา : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขา : วิศวกรรมอุตสาหการ
เกรด : 3.33
ปีที่จบการศึกษา : 2547
วุฒิการศึกษา : ปริญญาตรี
คณะวิชา : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขา : วิศวกรรมอุตสาหการ
เกรด : 2.26
ปีที่จบการศึกษา : 2543
วุฒิการศึกษา : ม.6
คณะวิชา : ม.6
สาขา : คณิต-วิทย์
เกรด : 2.72
ตำแหน่งงาน : รองผู้จัดการส่วนผลิต
ระยะเวลา : มกราคม 2568 ถึง ปัจจุบัน
รายละเอียดงาน :
1. วางแผน กำหนดเป้าหมาย และควบคุมคุณภาพการผลิต ให้สอดคล้องกับนโยบายของบริษัท
2. ควบคุม ติดตาม และตรวจสอบ ให้กระบวนการผลิตเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
3. สร้าง พัฒนา และสอนงาน ให้บุคลากรในฝ่ายผลิต มีความสามารถเพียงพอที่จะปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ออกแบบการเก็บข้อมูล เพื่อนำมาวิเคราะห์รายงาน แก้ไขปัญหาและปรับปรุงกระบวนการผลิต
5. จัดทำรายงานเกี่ยวกับคุณภาพสินค้า ปริมาณการผลิต และต้นทุนในการผลิต
6. ประสานงานกับฝ่ายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถทำการผลิตได้ตรงตามความต้องการของลูกค้า และส่งมอบได้ทันเวลา
7. บริหารและควบคุมให้บุคลากรในฝ่ายผลิต ปฏิบัติงานอยู่บนมาตรฐานความปลอดภัย
การปฏิบัติงานที่ประสบความสำเร็จ (ม.ค. 2568-ปัจจุบัน)
1. แก้ปัญหาในกระบวนการผลิตของแผนกผลิตงานขึ้นรูป (Forming) งานรีดชิ้นงานบานเกล็ดรูปตัวซีความยาว 4 เมตร ให้เครื่องจักรสามารถผลิตจากวัตถุดิบเหล็กแผ่นเคลือบสี ที่มีความหนาน้อยกว่าขีดจำกัดของเครื่องจักรได้ โดยวิธีการออกแบบการทดลอง
2. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลของการผลิตที่ยังคงค้างอยู่ในระบบวางแผนทรัพยากรขององค์กร (ERP) ทำการปิดคำสั่งผลิตและโอนย้ายรายการผลิต ที่ยังคงค้างตั้งแต่ปี 2563-2567 เพื่อการคำนวณต้นทุนการผลิตที่แท้จริงให้ได้ความแม่นยำมากที่สุด
3. ออกแบบตารางรายงานการผลิตใหม่ สำหรับทุกๆ หน่วยงานย่อยของสายการผลิต เพื่อความครบถ้วนในการสร้างรายงานจากระบบวางแผนทรัพยากรขององค์กร (ERP)
4. เพิ่มยอดการผลิตเฉลี่ยรายเดือนของเครื่องจักรตัดแผ่น (Leveling) และเครื่องจักรตัดแถบ (Slitting) โดยใช้วิธีการและเทคนิคทางวิศวกรรมอุตสาหการ
ตำแหน่งงาน : หัวหน้าแผนกผลิต
ระยะเวลา : พฤษภาคม 2567 ถึง สิงหาคม 2567
รายละเอียดงาน :
1. ควบคุมดูแลการวางแผนผลิต และตรวจติดตามการผลิตให้เป็นไปตามแผนการผลิต
2. ควบคุมดูแลใบมีดตัดเหล็กให้มีสภาพพร้อมใช้ และดูแลให้พนักงานใช้งานอย่างถูกวิธี
3. ตรวจสอบความสะอาดและสุขลักษณะภายในพื้นที่ และเครื่องจักรของโรงงาน
4. รายงานผลการผลิตประจำวันและปัญหาแก่ผู้จัดการโรงงาน มีส่วนร่วมในการประชุมแก้ไขปัญหา
5. สั่งการและบังคับบัญชาให้ปฏิบัติตามระเบียบและนโยบายของบริษัทฯ
6. ประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่ออำนวยการผลิตให้ดำเนินงานไปได้ด้วยดี
7. ดูแลผู้ใต้บังคับบัญชาให้ปฏิบัติตามนโยบายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย รวมถึง 5ส ของบริษัทฯ
8. ดูแลปรับปรุงงานภายในหน่วยงาน สำหรับดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย รวมถึง 5ส ให้ได้รับการจัดทำจนแล้วเสร็จ
9. ดูแลแก้ไขและป้องกันสภาพที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดในหน่วยงาน ให้ได้รับการจัดการที่เหมาะสม
การปฏิบัติงานที่ประสบความสำเร็จ
1. ออกแบบตารางบันทึกและคำนวณ ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE) ของทุกเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการผลิตภายในโรงงาน เพื่อเป็นการประเมินงานและวางแผนการทำงานสำหรับแต่ละเครื่องจักร
2. ออกแบบวิธีการป้องกันแถบเหล็กที่ผ่านการตัดแถบและหีบห่อแล้ว ไม่ให้พลาสติกใสห่อหุ้มแถบเหล็กฉีกขาด เสียหายจากการใช้โซ่และเครนยก เพื่อไม่ให้เกิดสนิมที่สินค้าแถบเหล็ก
3. ออกแบบและย้ายตำแหน่งหน้าจอมอนิเตอร์ที่ใช้งาน ให้สามารถหมุนไปทางด้าน ซ้าย-ขวา เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่พนักงาน ลดเวลาการเตรียมงาน และลดการทำงานที่ผิดพลาดของพนักงาน
4. ออกแบบและย้ายตำแหน่งถังเก็บเศษเหล็กด้านข้างที่เกิดจากการผลิต ให้มีความสะดวกในการขนย้ายและขนถ่าย ประหยัดเวลาในการเตรียมงานขนย้ายและขนถ่าย ทำให้เพิ่มผลิตภาพในการผลิต
5. ทบทวนและทำการออกแบบผังการวางชิ้นงานระหว่างการผลิต (WIP) ให้มีความสะดวกในการเข้าถึงชิ้นงาน และมีความปลอดภัยในการจัดวางชิ้นงานมากขึ้น
ตำแหน่งงาน : วิศวกรโรงงาน
ระยะเวลา : มิถุนายน 2565 ถึง กันยายน 2565
รายละเอียดงาน :
1. ศึกษา, ปรับปรุงกระบวนการทำงานในโรงงาน ให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น
2. ศึกษา, วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาซ้ำ
3. ควบคุมดูแลการใช้งานน้ำมันหล่อเย็น ของเครื่องจักรรีดเหล็กตัวซี และเครื่องจักรรีดท่อ
4. ควบคุมและตรวจสอบข้อมูลการผลิตของเครื่องจักรรีดเหล็กตัวซี, เครื่องจักรรีดท่อ และช่วยดูแลเครื่องจักรตัดเหล็กแผ่น เครื่องสลิตเตอร์ เป็นครั้งคราว
5. สนับสนุนข้อมูล และช่วยอำนวยความสะดวกของการปฏิบัติงานในด้านต่างๆ แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
6. นำความรู้ทางด้านโลหะวิทยามาช่วยในการคัดเลือกและตัดสินใจเลือกวัตถุดิบเข้ากระบวนการผลิต เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาด้านวัตถุดิบการผลิต
การปฏิบัติงานที่ประสบความสำเร็จ
1. ควบคุมและดูแลการผลิตเครื่องจักรรีดท่อ จากยอดผลิตที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมายวางแผนการผลิต เป็น ได้ยอดการผลิตที่มากกว่าเป้าหมายวางแผนการผลิต 3 เดือน ติดต่อกัน (ก.ค.-ก.ย. 2565)
2. ลดเวลา Breakdown ของเครื่องจักรรีดท่อ และเพิ่ม Utilization (การใช้ประโยชน์) ของเครื่องจักรรีดท่อ ให้มีการใช้งานได้ใกล้เคียงประสิทธิภาพสูงสุดของเครื่องจักร
ตำแหน่งงาน : วิศวกรฝ่ายผลิตเหล็กแท่ง / ผู้ช่วยหัวหน้าส่วนผลิตเหล็กแท่ง
ระยะเวลา : ตุลาคม 2551 ถึง กุมภาพันธ์ 2564
รายละเอียดงาน :
1. ควบคุมการผลิตเหล็กจากเตาอาร์คไฟฟ้า (EAF) ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม
2. ควบคุมคุณภาพของธาตุผสม ที่ใช้ในกระบวนการปรับแต่งค่าเคมีของน้ำเหล็ก
3. เก็บรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล ของกระบวนการผลิตเหล็กในทุกกระบวนการ เพื่อเพิ่มผลิตภาพ
4. ประสานงานระหว่างแผนกผลิต แผนกซ่อมวัสดุทนไฟ แผนกซ่อมบำรุงเครื่องกล แผนกซ่อมบำรุงไฟฟ้า และแผนกบริการการผลิต
5. วางแผนการบำรุงรักษารายเดือน จัดทำแผนงานและแผนการบำรุงรักษาเครื่องจักรประจำปีของฝ่าย
6. วางแผน กำหนดปริมาณ และคัดเลือกชนิดของเศษเหล็กที่นำมาใช้ในการผลิต เพื่อให้มีความเหมาะสมทั้งด้านต้นทุนและคุณภาพ สำหรับการผลิตเหล็กในแต่ละชนิด
7. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลการผลิต และนำเข้าข้อมูลสู่ระบบ ERP เพื่อทำการวิเคราะห์ต้นทุนในการผลิต
8. คำนวณค่า OEE ของกระบวนการผลิต เพื่อวัดประสิทธิผลของการผลิตโดยรวมของเครื่องจักร
9. คำนวณค่า KPI เพื่อรายงานผลการดำเนินงานผลิตประจำเดือน เข้าสู่ระบบ ISO รวมของบริษัทฯ
10. ตรวจสอบและควบคุมปริมาณของวัตถุดิบคงคลังที่ใช้ในการผลิต เพื่อให้มีปริมาณที่เพียงพอและทันเวลาสำหรับการใช้งานในการผลิต
การปฏิบัติงานโครงการที่ประสบความสำเร็จ
1. จัดทำโครงการ “ลดอุณหภูมิการเทน้ำเหล็ก เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้า” (พ.ค.-ส.ค. 2556)
2. จัดทำโครงการ “เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมส่วนผสมทางเคมีของน้ำเหล็ก” (เม.ย. 2557)
3. การบริหารโครงการก่อสร้างโรงหลอมเหล็กแห่งใหม่ (มิถุนายน 2556-มี.ค. 2559)
4. จัดทำระบบบริหารคุณภาพ (ISO 9001:2015) (พ.ย. 2559-ก.ค. 2560)
5. จัดทำโครงสร้างและสูตรการผลิต (Bill of material : BOM) เพื่อนำไปสู่การสร้างระบบ ERP รวม ของทางบริษัทฯ (ก.ค. 2562-ธ.ค. 2563)
สถาบัน :
- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
ระยะเวลา :
- พฤษภาคม 2565 ถึง พฤษภาคม 2565
หลักสูตร :
- ผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ระดับผู้ช่วยผู้ชำนาญการ
สถาบัน :
- สภาวิศวกร
ระยะเวลา :
- กุมภาพันธ์ 2564 ถึงปัจจุบัน
หลักสูตร :
- ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
สถาบัน :
- สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย)
ระยะเวลา :
- พฤศจิกายน 2553 ถึง ธันวาคม 2553
หลักสูตร :
- เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร
สถาบัน :
- คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย+สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย
ระยะเวลา :
- มีนาคม 2552 ถึง พฤษภาคม 2552
หลักสูตร :
- โลหะวิทยาของเหล็กกล้า
สถาบัน :
- สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
ระยะเวลา :
- กุมภาพันธ์ 2548 ถึง กุมภาพันธ์ 2548
หลักสูตร :
- การจัดทำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2004
สถาบัน :
- สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
ระยะเวลา :
- มกราคม 2548 ถึง มกราคม 2548
หลักสูตร :
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ISO 9001:2000 และการนำไปประยุกต์ใช้ภายในองค์กร
ยานพาหนะที่มี
- รถยนต์
ใบขับขี่
- รถยนต์
ความสามารถในการขับขี่
- รถยนต์
ทักษะทางภาษา | การพูด | การฟัง | การอ่าน | การเขียน |
---|---|---|---|---|
ไทย | ดีมาก | ดีมาก | ดีมาก | ดีมาก |
อังกฤษ | พอใช้ | ดี | ดีมาก | ดี |
- ดร.นันทวัฒชัย วงษ์ชนะชัย
- รองกรรมการผู้จัดการ บ.โรงงานเหล็กกรุงเทพฯ จำกัด
หางานตามสาขาอาชีพ
JOBBKK.COM © สงวนลิขสิทธิ์ All Right Reserved